แนะแนว
อาชีพที่ฉันสนใจ
Arcitect สถาปนิก
ความก้าวหน้าในงานอาชีพ รายได้ และสวัสดิการ
ลักษณะของงานที่ทำ
สถาปนิกจะเป็นผู้ออกแบบต้องทำงานตามขั้นตอนและกำหนดเวลาชิ้นผลงานต่างๆ ร่วมกับวิศวกรก่อสร้างและนักเขียนแบบ โดยมีขั้นตอนการทำงานดังนี้
1. บันทึกรายละเอียด ความต้องการของลูกค้า เพื่อออกแบบให้ตรงตามความต้องการของลูกค้า
2. ออกแบบ คำนวณแบบ เลือกวัสดุที่มีคุณภาพเหมาะสมและให้ประโยชน์สูงสุดกับลูกค้า
3. คำนวณรายการใช้จ่ายให้เหมาะสมกับเนื้องาน
4. เตรียมแบบ และส่งแบบที่วาดโดยช่างเขียนแบบให้ลูกค้าพิจารณา เพื่อ ดัดแปลงแก้ไขและตอบข้อซักถามของ ลูกค้าร่วมกับวิศวกร
5. เมื่อแก้ไขดัดแปลงให้สมบูรณ์แล้วจึงส่งแบบให้กับวิศวกรทำการก่อสร้าง
6. ออกปฏิบัติงานร่วมกับวิศวกรระหว่างทำการก่อสร้างเพื่อให้ใช้วัสดุและตามแบบที่วางไว้ตามเงื่อนไขสัญญา
7. ให้คำปรึกษาต่อวิศวกรและแก้ปัญหาที่อาจเกิดขึ้นจากการก่อสร้างและการคำนวณของวิศวกร
อาจวางแผนและควบคุมงานที่สถาปนิกจะได้รับทำเป็นประจำตลอดปีคือ งานปรับปรุง ดัดแปลง แก้ไขตัวอาคารเพื่อความทันสมัยสวยงามและปลอดภัยอยู่เสมอ สถาปนิกอาจมีความชำนาญในอาคารบางชนิดเป็นพิเศษ เช่นการออกแบบการใช้อาคารในพื้นที่แคบ เป็นต้น หน้าที่ของเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยระดับพื้นฐาน
1. บันทึกรายละเอียด ความต้องการของลูกค้า เพื่อออกแบบให้ตรงตามความต้องการของลูกค้า
2. ออกแบบ คำนวณแบบ เลือกวัสดุที่มีคุณภาพเหมาะสมและให้ประโยชน์สูงสุดกับลูกค้า
3. คำนวณรายการใช้จ่ายให้เหมาะสมกับเนื้องาน
4. เตรียมแบบ และส่งแบบที่วาดโดยช่างเขียนแบบให้ลูกค้าพิจารณา เพื่อ ดัดแปลงแก้ไขและตอบข้อซักถามของ ลูกค้าร่วมกับวิศวกร
5. เมื่อแก้ไขดัดแปลงให้สมบูรณ์แล้วจึงส่งแบบให้กับวิศวกรทำการก่อสร้าง
6. ออกปฏิบัติงานร่วมกับวิศวกรระหว่างทำการก่อสร้างเพื่อให้ใช้วัสดุและตามแบบที่วางไว้ตามเงื่อนไขสัญญา
7. ให้คำปรึกษาต่อวิศวกรและแก้ปัญหาที่อาจเกิดขึ้นจากการก่อสร้างและการคำนวณของวิศวกร
อาจวางแผนและควบคุมงานที่สถาปนิกจะได้รับทำเป็นประจำตลอดปีคือ งานปรับปรุง ดัดแปลง แก้ไขตัวอาคารเพื่อความทันสมัยสวยงามและปลอดภัยอยู่เสมอ สถาปนิกอาจมีความชำนาญในอาคารบางชนิดเป็นพิเศษ เช่นการออกแบบการใช้อาคารในพื้นที่แคบ เป็นต้น หน้าที่ของเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยระดับพื้นฐาน
คุณสมบัติของผู้ประกอบอาชีพ
ผู้ประกอบสถาปนิก-Architect-Buildingควรมีคุณสมบัติดังนี้
1. มีคุณวุฒิการศึกษาระดับปริญญาตรี คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์
2. มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ เป็นคนมีความละเอียดรอบคอบ และถี่ถ้วน
3. มีความสามารถในการรู้จักประยุกต์ใช้วัสดุ เพื่อประโยชน์ใช้สอยสูงสุด
4. มีทักษะในการใช้คอมพิวเตอร์โปรแกรมในการช่วยวาดรูปหรือออกแบบ
5. มีระเบียบวินัย เข้าใจถึงการบริหารธุรกิจ
6. มีมนุษยสัมพันธ์ดี ให้ความร่วมมือกับ ทีมงานดี
7. มีวิสัยทัศน์ที่ดี และปรับปรุงความรู้ความสามารถอยู่ตลอดเวลา
8. มีความสามารถเป็นทั้งผู้นำและผู้ตาม
9. มีสุขภาพแข็งแรง สามารถไปทำงานต่างจังหวัดหรือต่างประเทศได้
10. มีความซื่อสัตย์
1. มีคุณวุฒิการศึกษาระดับปริญญาตรี คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์
2. มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ เป็นคนมีความละเอียดรอบคอบ และถี่ถ้วน
3. มีความสามารถในการรู้จักประยุกต์ใช้วัสดุ เพื่อประโยชน์ใช้สอยสูงสุด
4. มีทักษะในการใช้คอมพิวเตอร์โปรแกรมในการช่วยวาดรูปหรือออกแบบ
5. มีระเบียบวินัย เข้าใจถึงการบริหารธุรกิจ
6. มีมนุษยสัมพันธ์ดี ให้ความร่วมมือกับ ทีมงานดี
7. มีวิสัยทัศน์ที่ดี และปรับปรุงความรู้ความสามารถอยู่ตลอดเวลา
8. มีความสามารถเป็นทั้งผู้นำและผู้ตาม
9. มีสุขภาพแข็งแรง สามารถไปทำงานต่างจังหวัดหรือต่างประเทศได้
10. มีความซื่อสัตย์
แนวทางการศึกษาประกอบอาชีพ
1.สาขาวิชาสถาปัตยกรรม ศึกษาการออกแบบสถาปัตยกรรมโดยคำนึงถึงสภาวะแวดล้อมการใช้วัสดุ วิธีการก่อสร้าง และความรู้ทางสาขาวิชาวิศวกรรมที่เกี่ยวข้อง คำนึงสภาพเศรษฐกิจ สังคม และศิลปวัฒนธรรม ตลอดจนความงาม และความเป็นระเบียบเรียบร้อยทั้งส่วนของโครงการที่ปฏิบัติและผลกระทบต่อส่วนรวม ทั้งนี้จะเน้นปัจเจกภาพเฉพาะบุคคลเป็นสำคัญ
2.สาขาวิชาสถาปัตยกรรมไทย ศึกษาการออกแบบสถาปัตยกรรมไทย และศึกษาแหล่งที่มาอิทธิพลขององค์ประกอบสถาปัตยกรรมไทยศึกษา และฝึกหัดเขียนลายไทยชนิดต่าง ๆตั้งแต่ง่ายไปจนถึงการบบรจุลายลงบนส่วนประกอบสถาปัตยกรรมให้ถูกต้องตามหน้าที่ และสามารถออกแบบสถาปัตยกรรมไทยให้เหมาะสมกับสภาพท้องถิ่นและสังคมปัจจุบัน
3.สาขาวิชาการปัตยกรรมภายใน เป็นศาสตร์ที่ประสานกันระหว่างงานสถาปัตยกรรม และงานออกแบบภายใน เป็นวิชาชีพทางด้านการออกแบบที่เกี่ยวข้องกับงานสถาปัตยกรรมซึ่งเน้นการจัดที่ว่างภายในอาคารเพื่อประโยชน์ใช้สอย และความงามโดยคำนึงถึงสภาพแวดล้อมวัสดุและเทคโนโลยีในการก่อสร้างความรู้ทางวิศกรรมที่เกี่ยวข้อง การประหยัดพลังงานและทรัพยากร สภาพเศรษฐกิจ สังคม และศิลปวัฒนธรรม เพื่อให้การใช้สอยภายในอาคารเกิดสภาพแวดล้อมที่ดีมีคุณภาพเหมาะสมแก่ผู้ใช้อาคารทั้งด้านร่างกาย
3.สาขาวิชาการปัตยกรรมภายใน เป็นศาสตร์ที่ประสานกันระหว่างงานสถาปัตยกรรม และงานออกแบบภายใน เป็นวิชาชีพทางด้านการออกแบบที่เกี่ยวข้องกับงานสถาปัตยกรรมซึ่งเน้นการจัดที่ว่างภายในอาคารเพื่อประโยชน์ใช้สอย และความงามโดยคำนึงถึงสภาพแวดล้อมวัสดุและเทคโนโลยีในการก่อสร้างความรู้ทางวิศกรรมที่เกี่ยวข้อง การประหยัดพลังงานและทรัพยากร สภาพเศรษฐกิจ สังคม และศิลปวัฒนธรรม เพื่อให้การใช้สอยภายในอาคารเกิดสภาพแวดล้อมที่ดีมีคุณภาพเหมาะสมแก่ผู้ใช้อาคารทั้งด้านร่างกาย
4.สาขาวิชาการออกแบบอุตสาหกรรม เน้นหนักการออกแบบ 5 สาขา คือ การออกแบบผลิตภัณฑ์ การออกแบบตกแต่งภายใน การออกแบบเลขะนิเทศ การออกแบบเครื่องเคลือบดินเผา และการออกแบบสิ่งทอ โดยจะต้องศึกษาพื้นฐานทั้ง 5 สาขา แล้วเลือกเน้นสาขาที่ตนถนัด และทำวิทยานิพนธ์ในสาขานั้น
5.สาขาวิชาภูมิสถาปัตยกรรม เน้นหนักด้านการปรุงแต่งสิ่งแวดล้อมของมนุษย์และธรรมชาติให้มีความสมดุลซึ่งกันและกัน ศึกษาด้านสุนทรียภาพและการใช้สอยของเมืองและที่อยู่อาศัยของมนุษย์ รวมถึงออกแบบสวนสาธารณะ สวนสัตว์ การอนุรักษ์ธรรมชาติ ป่า ต้นน้ำ ตลอดจนการอนุรักษ์โบราณสถานที่สำคัญทางประวัติศาสตร์
5.สาขาวิชาภูมิสถาปัตยกรรม เน้นหนักด้านการปรุงแต่งสิ่งแวดล้อมของมนุษย์และธรรมชาติให้มีความสมดุลซึ่งกันและกัน ศึกษาด้านสุนทรียภาพและการใช้สอยของเมืองและที่อยู่อาศัยของมนุษย์ รวมถึงออกแบบสวนสาธารณะ สวนสัตว์ การอนุรักษ์ธรรมชาติ ป่า ต้นน้ำ ตลอดจนการอนุรักษ์โบราณสถานที่สำคัญทางประวัติศาสตร์
ความก้าวหน้าในงานอาชีพ รายได้ และสวัสดิการ
ผู้ปฏิบัติอาชีพนี้ปฏิบัติงานในภาคราชการจะได้รับการเลื่อนขั้น เลื่อนตำแหน่ง เงินเดือน ตามความสามารถ ถ้าได้รับการศึกษาต่อหรืออบรมหลักสูตรต่างๆเพิ่มเติมอาจได้เป็นผู้อำนวยการของหน่วยงานที่ตนเองสังกัดอยู่ ในภาคเอกชนจะได้เป็นผู้จัดการหรือผู้ดูแลโครงการ หรือเจ้าของผู้ประกอบกิจการ
อัตราเงินเดือน
อัตราเงินเดือนของสถาปนิกจะขึ้นอยู่กับระดับการศึกษา ได้แก่ ปริญญาตรี 15,000 – 20,000 บาท ปริญญาโท 20,108 - 35,000 บาท และปริญญาเอก 35,000 - 50,000 บาท
เงินเดือนเฉลี่ย
15,000.00
ปัญหา หรืออุปสรรคที่อาจพบในการประกอบอาชีพ
1. ปัจจัยภายนอก ความไม่คาดฝัน ปัญหาที่ควบคุมไม่ได้
ที่เกิดขึ้นบ่อย มาในรูปแบบหลากหลาย ทั้งตั้งแต่เรียน และจนเวลาทำงาน
เช่น..
ลูกค้าอยู่ดีดีก็โทรมาของานล่วงหน้า พรุ่งนี้เช้า…!!
Meeting โดนเลื่อนเร็วขึ้น ..
แบบที่แสนจะปลื้มใจ แต่กลับโดน..อาจารย์ และ เจ้านายล้มแบบ …
ลูกค้าเปลี่ยนใจ ขอOption เพิ่ม …
สิ่งเหล่านี้ รับมือได้ แต่ไม่ค่อยมีโอกาสให้เตรียมการล่วงหน้า
2. เวลามีน้อย…เหลือเกิน | งานเยอะ แต่ ระยะเวลาจำกัด
Always in a pinch
การทำงานในสายเรา หลายๆทีก็คิดนะว่ามันจะเหมือนหลังชนฝาตลอดเวลา อะไรจะบ่อยขนาดนี้
เวลาทำงานหลายๆครั้ง ถ้าไม่นับว่ามาจากสิ่งที่คุมไม่ได้ เราจะพบว่า
3. Unhealthy Revision | แก้แบบพร่ำเพรื่อ
การแก้แบบเป็นเรื่องปกติของการทำงานออกแบบ ที่ต้องพัฒนาความคิดและแนวทางเลือกเพื่อให้ได้งานออกแบบที่ดีที่สุด เหมาะสมกับงานนั้น
แต่….การแก้แบบต้องแก้อย่างมีหลักการและเหตุผล ไม่ใช่แก้แบบพร่ำเพรื่อการแก้ไปเรื่อยไม่มีที่สิ้นสุด ไม่ได้แปลว่าจะเป็นPerfectionist ห้ามเหมา
แนวโน้มความต้องการอาชีพในอนาคต
ปีข้างหน้าสถาปัตยกรรมไทย จะมีรูปทรงแปลกตามากขึ้น เนื่องจากเทคโนโลยี มีความทันสมัย ทำให้ตอบสนองต่อความคิดแหวกแนวของนักออกแบบ เช่น เมืองลอยฟ้าที่สามารถปรับเปลี่ยนตำแหน่งได้ตามต้องการ หรือการใช้ทรีดี พริ้นเตอร์ (3D Printer)ในงานก่อสร้าง เพื่อลดการใช้แรงงานที่มีค่าแรงสูงขึ้น รวมทั้งยังได้งานที่มีความละเอียดและแม่นยำสูง
การอยู่ร่วมกับภัยธรรมชาติ คือความท้าทายที่สำคัญของมนุษย์ในอีก 10 ปีข้างหน้า เพราะฉะนั้น การออกแบบและก่อสร้างในอนาคต จะต้องคำนึงถึงผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม และสภาพภูมิประเทศที่เปลี่ยนไป เช่น บ้านหนีท่วม และอาคารต้านแผ่นดินไหว
การอยู่ร่วมกับภัยธรรมชาติ คือความท้าทายที่สำคัญของมนุษย์ในอีก 10 ปีข้างหน้า เพราะฉะนั้น การออกแบบและก่อสร้างในอนาคต จะต้องคำนึงถึงผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม และสภาพภูมิประเทศที่เปลี่ยนไป เช่น บ้านหนีท่วม และอาคารต้านแผ่นดินไหว
คุณค่าของอาชีพต่อการพัฒนาสังคม
- สถาปนิกจะช่วยแปลความต้องการที่เฉพาะเจาะจง และแตกต่างหลากหลายให้เป็นรูปธรรม
หลายครั้งที่เรามีไอเดียแบบบ้านในฝัน แต่ไม่ชัดเจน เหมือนมีภาพjigsawเป็นชิ้นๆ มีทั้งไอเดียที่เป็นรายละเอียดเล็กๆ เช่นอยากมีห้องน้ำที่ฝักบัวลงมาจากเพดาน บางครั้งก็เป็นบรรยากาศหรือความรู้สึกรวมๆ เช่นอยากได้บ้านแบบLoft อบอุ่นและดูไทยๆ บางทีความต้องการก็แตกต่างหลากหลาย เจ้าของบ้าน2คนชอบอะไรที่ไม่เหมือนกัน คนนึงชอบแนวminimal อีกคนชอบcozy สถาปนิกก็มีหน้าที่ที่จะประสานไอเดียและตอบสนองความต้องการที่แตกต่างหลากหลายให้ออกมาเป็นรูปธรรมที่ชัดเจนในที่สุด ซึ่งหลายครั้งก็ไม่ใช่เรื่องง่ายนัก หรืออาจจะแทบเป็นไปไม่ได้เลยถ้าใช้แบบบ้านสำเร็จรูป
- สถาปนิกที่ดีจะช่วยออกแบบบ้านให้ไม่เพียงตอบสนองด้านฟังก์ชั่น แต่ทำให้รูปลักษณ์ดูดีทั้งภายในและภายนอก และคุ้มค่าในระยะยาว
ทั้งรูปลักษณ์หน้าตาภายในและภายนอกของบ้าน และการอยู่สบายมีความสำคัญพอๆกัน ถ้าเราเข้าใจความต้องการของตัวเองเป็นอย่างดี ก็อาจดัดแปลงแบบบ้านด้วยตัวเองให้น่าอยู่ได้ไม่ยากนัก แต่การออกแบบบ้านตั้งแต่ต้น รวมทั้งวางระบบน้ำ ไฟ สาธารณูปโภค และเลือกใช้วัสดุก่อสร้างที่ทั้งสวยงาม อยู่สบาย มีพื้นที่ใช้สอยในขนาดที่เหมาะสม และออกแบบให้เข้ากับlifestyle ของเจ้าของบ้านในระยะยาว มีความแข็งแรง ปลอดภัย ประหยัดพลังงาน และใช้งบประมาณการก่อสร้างที่เหมาะสม จำเป็นจะต้องได้ผู้เชี่ยวชาญอย่างทีมสถาปนิก และวิศวกรมาช่วยออกแบบ อย่าคิดเองหรือเชื่อผู้รับเหมามากนัก
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น